E-Portfolio Subject to the Science Experiences Management for Early Childhood Semester 1 /2557
วันจันทร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557
บันทึกอนุทินครั้งที่6
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 23 กันยายน 2557
บันทึกอนุทินครั้งที่5
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 16 กันยายน 2557
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 16 กันยายน 2557
อาจารย์เปิดเพลงวิทยาศาสตร์ให้ฟัง แล้วให้วิเคระาห์เนื้อหาของเพลงที่ได้ฟัง จากนั้นอาจารย์ให้คิดเพลงที่เกี่ยวกับเด็กปฐมวัยมาคนะ 1 เพลง โดยห้ามซำ้กัน
การนำไปประยุกต์ใช้
การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำเนื้อหาที่เรียน เกี่ยวกับรูปแบบการเรียนรู้เด็กปฐมวัย ไปปรับใช้ในการทำกิจกรรมให้เหมาะกับความต้องการของเด็กปฐมวัย
ประเมิน
ตนเอง - เข้าเรียนตรงเวลา วันนี้รู้สึกสับสนในเนื้อหาแต่งกายเรียบร้อย มีแอบคุยกับเพื่อน บ้าง
เพื่อน - เข้าเรียนตรงเวลา ใจตั้งใจเรียน มีส่วนร่วมในการตอบคำถาม
อาจารย์ - อาจารย์ใช้คำถามปรายเปิด เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการตอบคำถาม
ความลับของแสง
ประเมิน
ตนเอง - เข้าเรียนตรงเวลา วันนี้รู้สึกสับสนในเนื้อหาแต่งกายเรียบร้อย มีแอบคุยกับเพื่อน บ้าง
เพื่อน - เข้าเรียนตรงเวลา ใจตั้งใจเรียน มีส่วนร่วมในการตอบคำถาม
อาจารย์ - อาจารย์ใช้คำถามปรายเปิด เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการตอบคำถาม
ความลับของแสง
สรุปบทความ
วิทยาศาสตร์กับการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย
เด็กเป็นนักค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้โดยธรรมชาติ การหยิบจับ สัมผัส และการสังเกต การเรียนวิทยาศาสตร์จะเน้นการเรียนทักษะวิทยาศาสตร์และธรรมชาติรอบตัว ได้แก่ เรื่องพืช สัตว์ เวลา ฤดูกาล น้ำ และอากาศร่วมด้วย วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการสังเกตโลกรอบตัวและการสร้างทฤษฎีเกี่ยวกับสิ่งที่เห็น ศึกษาตั้งแต่สิ่งเล็ก ๆ อย่างเช่นแมลงในสนามหญ้า ไปจนถึงสิ่งใหญ่ ๆ อย่างดวงดาว ในขณะที่เด็ก ๆ กำลังมองผ่านกล้องจุลทรรศน์หรือกล้องส่องทางไกล นั่นเท่ากับว่าเด็ก ๆ กำลังเก็บรายละเอียดหรือเก็บข้อมูล ยิ่งดูมาก สังเกตมาก ก็ยิ่งได้ข้อมูลมาก เคยได้ยินเด็ก ๆ ตั้งคำถามแบบนี้กันบ้างไหม... ”ทำไมปลาไม่นอน” “ทำไมต้นหญ้าหน้าตาเหมือนต้นข้าว” “ภาพในโทรทัศน์เกิดขึ้นได้อย่างไร” “ทำไมเรือลำใหญ่ ๆ จึงไม่จมน้ำ” คือจุดเริ่มต้นของทักษะทางวิทยาศาสตร์ที่สำคัญซึ่งพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครู ไม่ควรมองข้าม
1. กระบวนการคิดที่เป็นเหตุเป็นผล เพราะวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของเหตุผล พิสูจน์ได้ ไม่มีอะไรเกิดขึ้นลอย ๆ
2. พัฒนาการทางความคิดมากกว่าความจำ ไม่มีทฤษฎีใดในโลกที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เช่น ครั้งหนึ่งคนเคยเชื่อว่าโลกแบน แต่ กาลิเลโอ ก็พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่าโลกกลม
3. จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
4. ทัศนคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ เด็ก ๆ อาจคิดอย่างเป็นเหตุผลและเป็นระบบอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน ถ้าเด็กได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างถูกวิธี เขาจะมีความสุขและสามารถต่อยอดไปในชั้นสูง ๆ ได้
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัย ช่วยให้เด็กได้พัฒนาคุณลักษณะตามวัยที่สำคัญ 4 ด้าน ได้แก่
1.คุณลักษณะตามวัยด้านร่างกาย เช่น การจัดกิจกรรมให้เด็ก ๆ ได้สำรวจสิ่ง ต่าง ๆ รอบตัวเด็ก
2.คุณลักษณะตามวัยด้านอารมณ์และจิตใจ เช่น การจัดกิจกรรมให้เด็ก ๆ ได้สำรวจและทดลองสิ่งต่าง ๆ รอบตัว เด็ก ๆ
3. คุณลักษณะตามวัยด้านสังคม เช่น การจัดกิจกรรมให้เด็ก ๆ ได้สำรวจสิ่งต่างๆ รอบตัว เด็ก ๆ ได้ฝึกการช่วยเหลือตนเองในการทำกิจกรรม รู้จักทำงานร่วมกับเพื่อน
4.คุณลักษณะตามวัยด้านสติปัญญา เช่น การจัดกิจกรรมให้เด็ก ๆ ได้สำรวจตรวจสอบ ทดลอง หรือสืบค้นสิ่งต่าง ๆ รอบตัว เด็ก ๆ ได้พัฒนาความสามารถในการถามคำถามเชิงวิทยาศาสตร์อย่างง่าย
ผิวสัมผัส : สิ่งแรกที่เด็กจะได้รับคือการได้สัมผัสกับสิ่งที่เป็นธรรมชาติ อย่างน้อยก็ผืนดินที่ปกคลุมไปด้วยหญ้าซึ่งแซมด้วยวัชพืชต่าง ๆ ให้มือของเด็กได้สัมผัสดิน ใช้เท้าวิ่งไปบนผืนหญ้าอ่อนนุ่ม ให้ความรู้สึกต่างกับพื้นยางหรือลานปูนมากเลยทีเดียว ซึ่งอย่างน้อย ๆ ก็ทำให้เด็กได้คุ้นเคยกับผิวสัมผัสต่าง ๆ แบบกันไป
การสังเกต : หากเปลี่ยนจากจอทีวีมาเป็นสนามหญ้ากว้างสีเขียวได้ก็จะดีมาก เพราะนอกจากจะช่วยฝึกสายตาแล้ว ยังสอนให้เด็กรู้จักหัดสังเกตสิ่งต่าง ๆ รอบตัวอีกด้วย
อ้างอิง : http://kunkruoum.blogspot.com/2011/08/blog-post_28.html
2.คุณลักษณะตามวัยด้านอารมณ์และจิตใจ เช่น การจัดกิจกรรมให้เด็ก ๆ ได้สำรวจและทดลองสิ่งต่าง ๆ รอบตัว เด็ก ๆ
3. คุณลักษณะตามวัยด้านสังคม เช่น การจัดกิจกรรมให้เด็ก ๆ ได้สำรวจสิ่งต่างๆ รอบตัว เด็ก ๆ ได้ฝึกการช่วยเหลือตนเองในการทำกิจกรรม รู้จักทำงานร่วมกับเพื่อน
4.คุณลักษณะตามวัยด้านสติปัญญา เช่น การจัดกิจกรรมให้เด็ก ๆ ได้สำรวจตรวจสอบ ทดลอง หรือสืบค้นสิ่งต่าง ๆ รอบตัว เด็ก ๆ ได้พัฒนาความสามารถในการถามคำถามเชิงวิทยาศาสตร์อย่างง่าย
สรุป
กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นการเรียนรู้ที่มีจุดมุ่งหมาย 2 ประการ คือ
กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นการเรียนรู้ที่มีจุดมุ่งหมาย 2 ประการ คือ
1. การฝึกทักษะพื้นฐาน ทางวิทยาศาสตร์
2. การเรียนรู้ข้อความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นธรรมชาติรอบตัวที่เด็กพบในชีวิตประจำวัน โดยเน้น
การใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ
2. การเรียนรู้ข้อความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นธรรมชาติรอบตัวที่เด็กพบในชีวิตประจำวัน โดยเน้น
การใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ
1) การสังเกต
2) การจำแนก เปรียบเทียบ
) การวัด
4) การสื่อสาร
5) การทดลอง และ
6) การสรุปและนำไปใช้
สิ่งที่ได้จากการเรียนวิทยาศาสตร์ คือ การสร้างให้เด็กมีนิสัยค้นคว้า การสืบเสาะ และการทำความเข้าใจธรรมชาติรอบตัว รู้จักวิธีการค้นหาความรู้อย่างนักวิทยาศาสตร์ โดยการพัฒนาทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในขณะเดียวกันเรียนรู้วิทยาศาสตร์รอบตัวไปด้วย
สิ่งที่ได้จากการเรียนวิทยาศาสตร์ คือ การสร้างให้เด็กมีนิสัยค้นคว้า การสืบเสาะ และการทำความเข้าใจธรรมชาติรอบตัว รู้จักวิธีการค้นหาความรู้อย่างนักวิทยาศาสตร์ โดยการพัฒนาทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในขณะเดียวกันเรียนรู้วิทยาศาสตร์รอบตัวไปด้วย
ตัวอย่างการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์
กิจกรรม ขุมทรัพย์บนพื้นหญ้าผิวสัมผัส : สิ่งแรกที่เด็กจะได้รับคือการได้สัมผัสกับสิ่งที่เป็นธรรมชาติ อย่างน้อยก็ผืนดินที่ปกคลุมไปด้วยหญ้าซึ่งแซมด้วยวัชพืชต่าง ๆ ให้มือของเด็กได้สัมผัสดิน ใช้เท้าวิ่งไปบนผืนหญ้าอ่อนนุ่ม ให้ความรู้สึกต่างกับพื้นยางหรือลานปูนมากเลยทีเดียว ซึ่งอย่างน้อย ๆ ก็ทำให้เด็กได้คุ้นเคยกับผิวสัมผัสต่าง ๆ แบบกันไป
การสังเกต : หากเปลี่ยนจากจอทีวีมาเป็นสนามหญ้ากว้างสีเขียวได้ก็จะดีมาก เพราะนอกจากจะช่วยฝึกสายตาแล้ว ยังสอนให้เด็กรู้จักหัดสังเกตสิ่งต่าง ๆ รอบตัวอีกด้วย
อ้างอิง : http://kunkruoum.blogspot.com/2011/08/blog-post_28.html
วันจันทร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2557
บันทึกอนุทินครั้งที่4
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 09 กันยายน 2557
ความรู้ที่ได้รับ
การนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำเนื้อหาที่เรียน เกี่ยวกับรูปแบบการเรียนรู้เด็กปฐมวัย ไปปรับใช้ในการทำกิจกรรมให้เหมาะกับความต้องการของเด็กปฐมวัย โดยจะต้องมุ่งส่งเสริม ให้มีการพัฒนาไปพร้อมๆกันทั้ง 4 ด้าน เเละสามารถนำใช้กับเด็กได้จริง ทำให้เราเข้าใจในตัวเองยิ่งขี้นอีกด้วย
ประเมิน
ตนเอง - เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนดี แต่งกายเรียบร้อย
เพื่อน - เข้าเรียนตรงเวลา ใจตั้งใจเรียน มีส่วนร่วมในการตอบคำถาม
อาจารย์ - อาจารย์ใช้คำถามปรายเปิด เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการตอบคำถาม
ประเมิน
ตนเอง - เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนดี แต่งกายเรียบร้อย
เพื่อน - เข้าเรียนตรงเวลา ใจตั้งใจเรียน มีส่วนร่วมในการตอบคำถาม
อาจารย์ - อาจารย์ใช้คำถามปรายเปิด เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการตอบคำถาม
วันจันทร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2557
บันทึกอนุทินครั้งที่3
วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
วันที่ 02 กันยายน 2557
วันนี้ไม่มีการเรียนการสอน ไปเข้าร่วมกิจกรรม โครงการศึกษาศาสตร์วิชาการ (Thinking Faculty) ณ อาคารพลศึกษา (สนามกีฬาในร่ม)
จำนวนการดูหน้าเว็บรวม
Clock & Calendar
ขับเคลื่อนโดย Blogger.
Information
Learning substance
Support Unit
Resources
Article
์Name Group 102
- 01. Winat Yotkaew
- 02. Janjira Butchuang
- 03. Napawan Krudkhunthian
- 05. Narumon Isara
- 06. Kamolchanok Yongsta
- 07. Yupadee Sonprasert
- 10. Rattiporn Chaiyung
- 11. Anusara Keaochu
- 12. Ratchadaporn Maneesri
- 13. Namphung Sakparsert
- 15. Nuntaporn SriKum
- 16. Sinthat phadungchit
- 17. Kamolthip Muendech
- 18. Jiraporn thaiautwitee
- 20. Thidamat sripan
- 21. Wannisa nulsuk
- 22. Pacharaporn Pranak
- 23. Sunisa salaemae
- 24. Siriwimon monson
- 25. Orachon Thanachaiwanichakul
- 26. Yuwadee phonchan
- 27. Nuchradee Huanon
- 28. Suganda kutwan
- 29. Saitip kophet
- 30. Nartrada Chaiwised
- 31. Wanwisa yojaroen
- 32. Rossukon Maneenet
- 33. Wasinee kamlajan
- 34. Waranya Tula
- 35. Benjaporn Prachum
- 36. Sirichom Ketha
- 37. Suphawadee Promphak
- 38. Yuthiga Hemkul
- 39. Sirinthip Silanin
- 40. Sasiya Sucharit
- 41. Cholluethai Thumato
- 42. Jittraporn phanphanit
- 43. Purisar Khaomueng
- 44. Booppha Sa-ard
- 45. Pasinee Sangpratoom
- 46. Nutthakorn Jirajerdnapa
- 47. Charida Inthanom
- 48. Tharinya Sawapithak
Blog Archive
You can replace this text by going to "Layout" and then "Page Elements" section. Edit " About "