Free CursorsMyspace LayoutsMyspace Comments

วันอาทิตย์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

สรุปวิจัย


ผู้แต่ง พัชรา อยู่สมบูรณ์

1.ต้องการพัฒนาอะไร
                การศึกษาครั้งนี้มีจุดหมายเพื่อเปรียบเทียบทักษะการแสวงหาความรู้ของเด็กปฐมวัย ที่ได้ทำกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เรื่อง แสง ก่อนและหลังการทดลอง

2.ความสัมพันธ์ทางวิทยาศาสตร์
                แสง หมายถึง  เรื่องราวที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กนำมาใช้เป็นสื่อกลางในการจัดกิจกรรม ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใช้เนื้อหาเกี่ยวกับแหล่งกำเนิดแสงและการเดินทางของแสง พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานแสงที่มนุษย์สร้างขึ้นตัวกลางของแสง การหักเหของแสง การสะท้อนแสง แสงสี และแสงกับการเจิญเติบโตของพืช

3.ขั้นตอนการทำ
                เด็กปฐมวัยชาย หญิง  5-6 ปี อนุบาล 2 โรงเรียน วัดศาลาครืน กทม.
                1.จับฉลาก นักเรียนมา 1 ห้องเรียน จากจำนวน 2 ห้องเรียน
                2.ทดสอบนักเรียนที่ได้มาจากการสุ่ม ด้วยแบบทดสอบทักษะการแสวงหาความรู้คัดเลือกนักเรียนที่มีทักษะการแสวงหาความรู้ต่ำสุดจาก 15 ลำดับสุดท้าย รวมทั้งสิ้น 15 คน เพื่อนำมาเป็นกลุ่มทดลอง
                3.ดำเนินการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เรื่อง แสง สัปดาห์ละ 3 วัน ระยะเวลา 8 สัปดาห์
                4.เมื่อครบ 8 สัปดาห์ ทำการทดสอบทักษะการแสวงหาความรู้หลังการทดลอง ด้วยแบบทดสอบทักษะการแสวงหาความรู้ฉบับเดียวกันก่อนการทดลอง
                5.นำผลที่ได้จาก ก่อนและหลังการทดลองมาวิเคราะห์

4.ผลที่ได้
คือ นักเรียนที่ได้ทำกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เรื่อง แสง มีทักษะการแสวงหาความรู้สูงขึ้น


*** ผลการวิจัยครั้งนี้จะเป็นแนวทางสำหรับครูปฐมวัยและผู้ที่เกี่ยวข้องได้นำการจัดกิจกรรม เสริมประสบการณ์ เรื่อง แสง ไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาและส่งเสริมทักษะการแสวงหาความรู้ของเด็กปฐมวัย


บันทึกอนุทินครั้งที่15

บันทึกอนุทินครั้งที่15

                     SCIENCE EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
                                                          25 NOVEMBER 2014

รายงานวิจัย 

                                                        นางสาว วรรณนิสา  นวลสุข
                                                                    วิจัยเรื่อง 
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อ ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย


นางสาว ศิริวิมล   หมั่นสนธิ์
วิจัยเรื่อง
     ผลการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เรื่องแสง ที่มีต่อทักษะการแสวงหาความรู้ของเด็กปฐมวัย


จากนั้นอาจารย์สอนทำ Cooking  Waffle


         ส่วนผสม(Compound)

1.แป้ง(Powder)
2.เนย(Better)
3.ไข่ไก่ (Egg)
4.น้ำเปล่า(Water)

         ขั้นตอนการทำ(Step)
1.ใส่แป้งลงในชาม


2.ใส่ไข่ไก่ 1 ฟอง แลุะเนย แล้วผสม

3.ค่อยๆใส่น้ำทีละน้อย แล้วผสมให้เข้ากัน 
   ปล.ไม่ควรใส่น้ำมากจนเกินไป 


การนำไปประยุกต์ใช้
                       
                                 สามารถนำความรู้ที่ได้จากอ่านและการฟังวิจัยในวันนี้นำไปใช้กับเด็กปฐมวัยได้ มีทั้งวิธีการสอน การแก้ปัญหา ต่างๆ กิจกรรมการทำ Waffle สามารถนำใช้สอนเด็กทำกิจกรรม การเขียนแผนการสอน เด็กจะได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของเด็ก
ประเมิน
             ตนเอง      - เข้าเรียนตรงเวลา  แต่งกายเรียบร้อย ร่วมทำกิจกรรมในห้องเรียนดี
             เพื่อน        - เข้าเรียนตรงเวลา มีคุยเสียงดังเป็นบ้างครั้ง ร่วมทำกิจกรรมในห้องเรียนดี เพื่อนๆช่วยกันตอบคำถามอาจารย์กันดี ทำให้ไม่น่าเบื่อ การทำกิจกรรม Cooking  Waffle เพื่อนๆทุกคนต่างตื่นเต้น
             อาจารย์    - วันนี้อาจารย์ได้คำแนะนำสำหรับการอ่านวิจัยและโทรทัศน์ครู ปัญหาและวิธีการจัดการเรียนการสอน  พร้อมทั้งพูดสรุปทำให้เข้าใจมากขึ้น 


วันอาทิตย์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่14

บันทึกอนุทินครั้งที่14

                     SCIENCE EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
                                                          18 NOVEMBER 2014

นำเสนอแผนการสอนต่อจากอาทิตย์ที่แล้ว
Group 7 หน่วย นกหงส์หยก (Tuesday)
              สอน เรื่อง ลักษณะ


Group 8 หน่วย สับปะรด (Wednesday)
 สอน เรื่อง ประโยชน์และข้อควรระวัง


Group 9 หน่วย ส้ม (Thursday)


นำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครู


นางสาวกมลชนก หยงสตาร์ นมสีกับน้ำยาล้างจาน



นางสาวจุฑาทิพย์ แก่นแก้ว นำเสนอวิจัย สร้างพื้นฐานการเรียนรู้กับประสาทสัมผัสทั้ง5


นางสาวรัตติพร ชัยยัง นำเสนองานวิจัย กระบวนการพัฒนาวิทยาศาสตร์พื้นฐานส่งเสริมศิลปะสร้างสรรค์



นางสาวอนุสรา แก้วชู นำเสนองานวิจัย

ผลการเรียนรู้ทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาตร์เด็กปฐมวัย


นางสาวรัชดาภรณ์ มณีศรี นำเสนอโทรทัศน์ครูกิจกรรมวิทยาศาสตณของเด็กปฐมวัยเรื่องหนังสือลอย


กิจกรรมCOOKINK (ทาโกยากิ)

วัสดุอุปกรณ์และเครื่องปรุง


ขั้นตอนการทำ

1ให้เด็กหั่นแครอท2แท่ง ปูอัด3เส้น ตั้นหอม1เส้น
2ให้เด็กๆเจียวไข่แล้วใส่ลงถ้สยตัวเองคนละ1ทัพพี
3ให้เด็กนำถ้สยไข่ไปใส่เครื่องปรุงฐานที่3ดังนี้ แครอท1ช้อนชา ปูอัดครึ่งช้อนชา ต้นหอม1ช้อนชา ซอลปรุงรสครึ่งช้อนชา(แล้วแต่ความชอบ) ข้าวเปล่า1ช้อนโต๊ะแล้วคนให้เขากันจากนั้นไปฐานที่4
4ตั้งกระทะให้ร้อนนำเนยรสจืดใส่ในกะทะ จากนั้นใส่ทาโกยากิลงในกะทะ ลองเหลือจนสุกพอดี


การนำไปประยุกต์ใช้
                         
                                 สามารถนำความรู้ที่ได้จากการเขียนแผน และวิธีการสอนไปใช้กับเด็กปฐมวัยได้ในอนาคต สำหรับวิจัยสามารถนำความรู้ที่ได้จากการฟังเพื่อนรายงานวิจัยไปใช้ศึกษาและวิธีการแก้ปัญหาสำหรับเด็กได้ การทำทาโกยากิสามารถนำไปใช้เขียนแผนการสอนสำหรับเด็กได้


ประเมิน
             ตนเอง      - เข้าเรียนตรงเวลา  แต่งกายเรียบร้อย ร่วมทำกิจกรรมในห้องเรียนดี
             เพื่อน        - เข้าเรียนตรงเวลา มีคุยเสียงดังเป็นบ้างครั้ง ร่วมทำกิจกรรมในห้องเรียนดี
             อาจารย์    - วันนี้อาจารย์ได้คำแนะนำสำหรับวิธีการสอนในหน่วยต่างๆ พร้อมทั้งอธิบายวิจัยว่าทำไมเราจึงต้องอ่านวิจัยเยอะ เพราะวิจัยนั้นมีวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ สำหรับเด็กปฐมวัย และสอนวิธีการทำทาโกยากิ


บันทึกอนุทินครั้งที่13

บันทึกอนุทินครั้งที่13

                     SCIENCE EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
                                                          11 NOVEMBER 2014

                    วันนี้นำเสนอแผนการสอนของแต่ละกลุ่ม

กลุ่มที่ 1  หน่วยผลไม้ (ใช้แผนวันจันทร์)


กลุ่มที่ 2 หน่วย นกหงส์หยก (ใช้แผนวันอังคาร)
         **ยังไม่พร้อมนำเสนออาทิตย์นี้)**

กลุ่มที่ 3 หน่วย ข้าวโพด (ใช้แผนวันพุธ)



กลุ่มที่ 4 หน่วย แตงโม (ใช้แผนวันพฤหัสบดี)




กลุ่มที่ 5 หน่วย กล้วย (ใช้แผนวันศุกร์)



กลุ่มที่ 6 หน่วย ช้าง (ใช้แผนวันจันทร์)



กลุ่มที่ 7 หน่วย ผีเสื้อ (ใช้แผนวันอังคาร)



กลุ่มที่ 8 หน่วย สับปะรด (ใช้แผนวันพุธ)
        **ยังไม่พร้อมนำเสนออาทิตย์นี้**

กลุ่มที่ 9 หน่วย ส้ม (ใช้แผนวันพฤหัสบดี)
        **ยังไม่พร้อมนำเสนออาทิตย์นี้**


การนำไปประยุกต์ใช้
                   
                                 1.วิธีการสอน และเทคนิคการสอน สามารถนำไปใช้ได้จริง
                                 2.หลักการเขียนแผนในแต่ละวันว่าต้องสอนอะไรบ้าง
                                 3.สามารถนำไปจัดกิจกรรมให้กับเด็กได้
                             
ประเมิน
             ตนเอง      - เข้าเรียนตรงเวลา  แต่งกายเรียบร้อย ร่วมทำกิจกรรมในห้องเรียนดี ตั้งใจฟังเพื่อนๆ แต่ละกลุ่มรายงานแผนการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย เราสามารถนำความรู่้ที่ได้ในวันนี้ ไปใช้เขียนแผนของเราเอง รู้หลักและวิธีการสอนของเพื่อนแต่ละกลุ่ม
             เพื่อน        - เข้าเรียนตรงเวลา มีคุยเสียงดังเป็นบ้างครั้ง  เตรียมงานมาพร้อมนำเสนอ เพื่อนๆตั้งใจนำเสนอแผนของกลุ่มตัวเอง และตั้งใจฟังเพื่อนๆรายงาน
             อาจารย์    - วันนี้อาจารย์ได้คำแนะนำสำหรับการสอน เทคนิคการสอนต่างๆ ว่าเราต้องสอนอย่างไร การใช้คำถามปลายเปิดกับเด็ก ไม่ใช่เราเฉลยให้เด็กฟัง พร้อมทั้งอาจารย์พุดสรุปแผนการสอนและวิธีการสอนของแต่ละกลุ่ม ว่าควรจะเพิ่มอันไหนควรปรับปรุง สามารถนำไปใช้ได้จริงในอนาคต


วันจันทร์ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่12

                               วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

                                                         วันที่ 4 พฤศจิกายน 2557

การเขียนแผน หน่วย ผีเสื้อ


การนำไปประยุกต์ใช้
                     
                                 สามารถนำความรู้ที่ได้จากการเขียนแผนการสอน นำไปจัดกิจกรรมให้เด็กได้ถูกต้อง ในการเขียนแผนในแต่ละวันนั้นจะเขียนไม่เหมือนกัน แต่จะต้องสอดคล้องกัน เป็นการฝึกการเขียนแผน เพราะในอนาคตเราต้องเขียนอีกเยอะ เราจะได้รู้หลักและวิธีการเขียนแผนที่ถูกต้อง
             ตนเอง      - เข้าเรียนตรงเวลา  แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังอาจารย์สอนหลักการเขียนแผนในแต่ละวันว่าเราต้องเขียนอะไรบ้าง การทำงานกลุ่มก็จะแบ่งหน้าที่กันทำ ช่วยกันคิด ช่วยกันทำ
             เพื่อน        - เข้าเรียนตรงเวลา มีคุยเสียงดังเป็นบ้างครั้ง  เพื่อนๆ ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายวิธีการเขียนแผน และโต้ตอบ ถามคำถามที่สงสัย เพื่อนในละกลุ่่มก็จะแบ่งหน้าที่การทำงานเหมือนกัน
             อาจารย์    - วันนี้อาจารย์ได้คำแนะนำสำหรับการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ พร้อมทั้งให้คำแนะนำในแต่ละหน่วยว่าต้องเขียนอะไรบ้าง ในเพราะใน พืช และ สัตว์ จะเขียนไม่กันหมด จะมีความคล้ายและต่างกันไปในหน่วยนั้น ๆ


บันทึกอนุทินครั้งที่11

                               วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

                                                         วันที่ 28 ตุลาคม 2557

กิจกรรม



คลิป ดอกไม้บาน

การนำไปประยุกต์ใช้
                           
                                 สามารถนำสิ่งประดิษฐ์นี้ไปใช้ในการเรียนการสอนได้ ครูต้องรู้จักคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ โดยใช้วัสดุที่มีอยู่รอบตัวหรือวัสดุเหลือใช้ นำมาประดิษฐ์ อาจจะดูเล็กน้อยแต่ก็เกิดการเรียนรู้สำหรับเด็ก จะทำให้เด็กเกิดการสังเกต การเปลี่ยนแปลง ฝึกการคิด


ประเมิน
             ตนเอง      - เข้าเรียนตรงเวลา  แต่งกายเรียบร้อย
             เพื่อน        - เข้าเรียนตรงเวลา มีคุยเสียงดังเป็นบ้างครั้ง
             อาจารย์    - วันนี้อาจารย์ได้ทำการทดลองสิ่งต่างๆให้ดู โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการทดลอง ทุกการทดลองอาจารย์และนักศึกษาได้ร่วมกันอธิบายทุกกิจกรรม ว่าเกิดจากอะไร อาจารย์พูดสรุปทำให้เข้าใจมากขึ้น


บันทึกอนุทินครั้งที่10

                               วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

                                                         วันที่ 21 ตุลาคม 2557


                   วันนี้อาจารย์ให้แต่ลละคนออกมานำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์ที่แต่ล่ะคนประดิษฐ์มาคนละ 1 ชิ้น โดยดิฉันได้ประดิษฐ์ แตร่ช้าง ซึ่งเด็กจะได้เรียนรู้ในเรืองของการเกิดเสียง



การนำไปประยุกต์ใช้
                         
                                 สามารถนำสิ่งประดิษฐ์นี้ไปใช้ในการเรียนการสอนได้ เราต้องรู้จักคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ โดยใช้วัสดุที่มีอยู่รอบตัวหรือวัสดุเหลือใช้ เป็นของเล่นที่เหมาะกับเด็กกับเด็ก สามารถใช้เป็นสื่อการสอนในการบูรณาการ วิชา วิทยาศาสตร์ เรื่อง เสียง จะทำให้เด็กเห็นภาพมากขึ้น ดีกว่าให้เด็กนึกภาพเอาเอง และเป็นการดึงดูดความสนใจได้อีกด้วย


ประเมิน
             ตนเอง      - วันนี้เข้าเรียนตรงเวลา  แต่งกายเรียบร้อย มีคุยกับเพื่อนบาง เตรียมสื่อและข้อมูลมาพร้อมนำเสนอ
             เพื่อน        - เข้าเรียนตรงเวลา มีคุยเสียงดังเป็นบ้างครั้ง เพื่อนทุกคนเตรียมสื่อและข้อมูลมาพร้อมนำเสนอทุกคน อาจจะมีบ้างคนที่ต้องแก้ไขบ้าง
             อาจารย์    - อาจารย์ได้ให้คำแนะนำกับสื่อที่ประดิษฐ์มาทุกคน บ้างสื่ออาจจะต้องปรับปรุง และอาจารย์ได้สอนทุกคนประดิษฐ์ของเล่นที่เหมาะกับเด็กปฐมวัยโดยใช้วัสดุเหลือใช้
บันทึกอนุทินครั้งที่9

                               วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

                                                         วันที่ 14 ตุลาคม 2557

                       วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาที่พร้อมออกมานำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์ โดยห้ามซ้ำกัน คนที่ออกมาก่อนจะได้สิทธิก่อน โดยให้บอกชื่อของสิ่งประดิษฐ์ วิธีการเล่น วัสดุที่ใช้ประดิษฐ์ นำไปใช้กับเด็กแล้วได้อะไร และเด็กได้อะไรจากของเล่นวิทยาศาสตร์ชิ้นนี้
                      พร้อมนำเสนออาทิตย์หน้าพร้อมของเล่นที่ประดิษฐ์


การนำไปประยุกต์ใช้
                             
                                 สามารถนำสิ่งประดิษฐ์นี้ไปใช้ในการเรียนการสอนได้ ใช้เป็นสื่อในการสอนสำหรับเด็ก ของเล่นบ้างชนิดสามารถนำมาจัดในมุมจัดประสบการณ์ได้


ประเมิน
             ตนเอง      - เข้าเรียนตรงเวลา  แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังเพื่อนๆ ที่นำเสนอสิ่งประดิษฐ์ ถึงแม้จะยังไม่มีีของจริง ได้รู้ว่าทำไมเพื่อนๆถึงประดิษฐ์สิ่งนี้ ของเล่นบ้างอย่างอาจจะยังไม่เหมาะสม
             เพื่อน        - เข้าเรียนตรงเวลา มีคุยเสียงดังเป็นบ้างครั้ง
             อาจารย์    - อาจารย์ได้เสนอแนวคิดในการประดิษฐ์ ว่าอันไหนเหมาะ อันไหนไม่เหมาะสำหรับเด็ก 
บันทึกอนุทินครั้งที่8

                               วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

                                                         วันที่ 7 ตุลาคม 2557

                           
           
           ** วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนค่ะ เนื่องจากวันนี้เป็นวันสอบกลางภาคมหาวิทยาลัย **



บันทึกอนุทินครั้งที่7

                               วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

                                                         วันที่ 30 กันยายน 2557


                          วันนี้มีอาจารย์ติดสัมนา เรื่อง จิตอาสาตามรอยแนวเศรษฐกิจพอเพียง
                                                         โดย ปอ ทฤษฎี  สหวงษ์


 

Copyright © Science Experiences Management for Early Childhood. Template created by Volverene from Templates Block | Downloaded from Free Templates
lasik surgery new york and cpa website solutions
WP theme by WP Themes Expert