Free CursorsMyspace LayoutsMyspace Comments

วันอาทิตย์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่16

บันทึกอนุทินครั้งที่16

                     SCIENCE EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
                                                          2  December  2014

รายงานวิจัยและโทรทัศน์ครู ต่อจากอาทิตย์ที่แล้ว


Suganda kutwan 
                                                               โทรทัศน์ครู
                                      เรื่อง สถานะของสาร โดย ครูกอบวิทย์ พิธิยะวัฒน์




Saitip kophet

รายงานวิจัย




Nutthakorn Jirajerdnapa
รายงานวิจัย

                      เรื่อง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้แบบโครงการกับแบบสืบเสาะหาข้อมูล



                     เมื่อรายงานเสร็จอาจารย์ให้จับกลุ่ม ละ 5 คน กลุ่มเดิมที่ทำแผนการสอน ให้ช่วยกันคิดและทำแผ่นพับ เรื่อง สายสัมพันธ์โรงเรียนและผู้ครอง โดยอาจารย์แจกกระดาษให้กลุ่มละ 5 แผ่น เมื่อเสร็จให้เลือก 1 แผ่นพับ ที่ดีที่สุดในกลุ่มส่งอาจารย์



การนำไปประยุกต์ใช้
                     
                                 สามารถนำความรู้ที่ได้จากอ่านและการฟังวิจัยในวันนี้นำไปใช้กับเด็กปฐมวัยได้ มีทั้งวิธีการสอน การแก้ปัญหา ต่างๆ
ประเมิน
             ตนเอง      - เข้าเรียนตรงเวลา  แต่งกายเรียบร้อย ร่วมทำกิจกรรมในห้องเรียนดี
             เพื่อน        - เข้าเรียนตรงเวลา มีคุยเสียงดังเป็นบ้างครั้ง ร่วมทำกิจกรรมในห้องเรียนดี เพื่อนๆช่วยกันตอบคำถามอาจารย์กันดี
             อาจารย์    - วันนี้อาจารย์ได้คำแนะนำสำหรับการอ่านวิจัยและโทรทัศน์ครู ปัญหาและวิธีการจัดการเรียนการสอน  พร้อมทั้งพูดสรุปทำให้เข้าใจมากขึ้น 


โทรทัศน์ครู

วันอาทิตย์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

สรุปวิจัย


ผู้แต่ง พัชรา อยู่สมบูรณ์

1.ต้องการพัฒนาอะไร
                การศึกษาครั้งนี้มีจุดหมายเพื่อเปรียบเทียบทักษะการแสวงหาความรู้ของเด็กปฐมวัย ที่ได้ทำกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เรื่อง แสง ก่อนและหลังการทดลอง

2.ความสัมพันธ์ทางวิทยาศาสตร์
                แสง หมายถึง  เรื่องราวที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็กนำมาใช้เป็นสื่อกลางในการจัดกิจกรรม ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ ใช้เนื้อหาเกี่ยวกับแหล่งกำเนิดแสงและการเดินทางของแสง พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานแสงที่มนุษย์สร้างขึ้นตัวกลางของแสง การหักเหของแสง การสะท้อนแสง แสงสี และแสงกับการเจิญเติบโตของพืช

3.ขั้นตอนการทำ
                เด็กปฐมวัยชาย หญิง  5-6 ปี อนุบาล 2 โรงเรียน วัดศาลาครืน กทม.
                1.จับฉลาก นักเรียนมา 1 ห้องเรียน จากจำนวน 2 ห้องเรียน
                2.ทดสอบนักเรียนที่ได้มาจากการสุ่ม ด้วยแบบทดสอบทักษะการแสวงหาความรู้คัดเลือกนักเรียนที่มีทักษะการแสวงหาความรู้ต่ำสุดจาก 15 ลำดับสุดท้าย รวมทั้งสิ้น 15 คน เพื่อนำมาเป็นกลุ่มทดลอง
                3.ดำเนินการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เรื่อง แสง สัปดาห์ละ 3 วัน ระยะเวลา 8 สัปดาห์
                4.เมื่อครบ 8 สัปดาห์ ทำการทดสอบทักษะการแสวงหาความรู้หลังการทดลอง ด้วยแบบทดสอบทักษะการแสวงหาความรู้ฉบับเดียวกันก่อนการทดลอง
                5.นำผลที่ได้จาก ก่อนและหลังการทดลองมาวิเคราะห์

4.ผลที่ได้
คือ นักเรียนที่ได้ทำกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เรื่อง แสง มีทักษะการแสวงหาความรู้สูงขึ้น


*** ผลการวิจัยครั้งนี้จะเป็นแนวทางสำหรับครูปฐมวัยและผู้ที่เกี่ยวข้องได้นำการจัดกิจกรรม เสริมประสบการณ์ เรื่อง แสง ไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาและส่งเสริมทักษะการแสวงหาความรู้ของเด็กปฐมวัย


บันทึกอนุทินครั้งที่15

บันทึกอนุทินครั้งที่15

                     SCIENCE EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
                                                          25 NOVEMBER 2014

รายงานวิจัย 

                                                        นางสาว วรรณนิสา  นวลสุข
                                                                    วิจัยเรื่อง 
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อ ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย


นางสาว ศิริวิมล   หมั่นสนธิ์
วิจัยเรื่อง
     ผลการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เรื่องแสง ที่มีต่อทักษะการแสวงหาความรู้ของเด็กปฐมวัย


จากนั้นอาจารย์สอนทำ Cooking  Waffle


         ส่วนผสม(Compound)

1.แป้ง(Powder)
2.เนย(Better)
3.ไข่ไก่ (Egg)
4.น้ำเปล่า(Water)

         ขั้นตอนการทำ(Step)
1.ใส่แป้งลงในชาม


2.ใส่ไข่ไก่ 1 ฟอง แลุะเนย แล้วผสม

3.ค่อยๆใส่น้ำทีละน้อย แล้วผสมให้เข้ากัน 
   ปล.ไม่ควรใส่น้ำมากจนเกินไป 


การนำไปประยุกต์ใช้
                       
                                 สามารถนำความรู้ที่ได้จากอ่านและการฟังวิจัยในวันนี้นำไปใช้กับเด็กปฐมวัยได้ มีทั้งวิธีการสอน การแก้ปัญหา ต่างๆ กิจกรรมการทำ Waffle สามารถนำใช้สอนเด็กทำกิจกรรม การเขียนแผนการสอน เด็กจะได้ลงมือปฏิบัติจริง ได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของเด็ก
ประเมิน
             ตนเอง      - เข้าเรียนตรงเวลา  แต่งกายเรียบร้อย ร่วมทำกิจกรรมในห้องเรียนดี
             เพื่อน        - เข้าเรียนตรงเวลา มีคุยเสียงดังเป็นบ้างครั้ง ร่วมทำกิจกรรมในห้องเรียนดี เพื่อนๆช่วยกันตอบคำถามอาจารย์กันดี ทำให้ไม่น่าเบื่อ การทำกิจกรรม Cooking  Waffle เพื่อนๆทุกคนต่างตื่นเต้น
             อาจารย์    - วันนี้อาจารย์ได้คำแนะนำสำหรับการอ่านวิจัยและโทรทัศน์ครู ปัญหาและวิธีการจัดการเรียนการสอน  พร้อมทั้งพูดสรุปทำให้เข้าใจมากขึ้น 


วันอาทิตย์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่14

บันทึกอนุทินครั้งที่14

                     SCIENCE EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
                                                          18 NOVEMBER 2014

นำเสนอแผนการสอนต่อจากอาทิตย์ที่แล้ว
Group 7 หน่วย นกหงส์หยก (Tuesday)
              สอน เรื่อง ลักษณะ


Group 8 หน่วย สับปะรด (Wednesday)
 สอน เรื่อง ประโยชน์และข้อควรระวัง


Group 9 หน่วย ส้ม (Thursday)


นำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครู


นางสาวกมลชนก หยงสตาร์ นมสีกับน้ำยาล้างจาน



นางสาวจุฑาทิพย์ แก่นแก้ว นำเสนอวิจัย สร้างพื้นฐานการเรียนรู้กับประสาทสัมผัสทั้ง5


นางสาวรัตติพร ชัยยัง นำเสนองานวิจัย กระบวนการพัฒนาวิทยาศาสตร์พื้นฐานส่งเสริมศิลปะสร้างสรรค์



นางสาวอนุสรา แก้วชู นำเสนองานวิจัย

ผลการเรียนรู้ทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาตร์เด็กปฐมวัย


นางสาวรัชดาภรณ์ มณีศรี นำเสนอโทรทัศน์ครูกิจกรรมวิทยาศาสตณของเด็กปฐมวัยเรื่องหนังสือลอย


กิจกรรมCOOKINK (ทาโกยากิ)

วัสดุอุปกรณ์และเครื่องปรุง


ขั้นตอนการทำ

1ให้เด็กหั่นแครอท2แท่ง ปูอัด3เส้น ตั้นหอม1เส้น
2ให้เด็กๆเจียวไข่แล้วใส่ลงถ้สยตัวเองคนละ1ทัพพี
3ให้เด็กนำถ้สยไข่ไปใส่เครื่องปรุงฐานที่3ดังนี้ แครอท1ช้อนชา ปูอัดครึ่งช้อนชา ต้นหอม1ช้อนชา ซอลปรุงรสครึ่งช้อนชา(แล้วแต่ความชอบ) ข้าวเปล่า1ช้อนโต๊ะแล้วคนให้เขากันจากนั้นไปฐานที่4
4ตั้งกระทะให้ร้อนนำเนยรสจืดใส่ในกะทะ จากนั้นใส่ทาโกยากิลงในกะทะ ลองเหลือจนสุกพอดี


การนำไปประยุกต์ใช้
                         
                                 สามารถนำความรู้ที่ได้จากการเขียนแผน และวิธีการสอนไปใช้กับเด็กปฐมวัยได้ในอนาคต สำหรับวิจัยสามารถนำความรู้ที่ได้จากการฟังเพื่อนรายงานวิจัยไปใช้ศึกษาและวิธีการแก้ปัญหาสำหรับเด็กได้ การทำทาโกยากิสามารถนำไปใช้เขียนแผนการสอนสำหรับเด็กได้


ประเมิน
             ตนเอง      - เข้าเรียนตรงเวลา  แต่งกายเรียบร้อย ร่วมทำกิจกรรมในห้องเรียนดี
             เพื่อน        - เข้าเรียนตรงเวลา มีคุยเสียงดังเป็นบ้างครั้ง ร่วมทำกิจกรรมในห้องเรียนดี
             อาจารย์    - วันนี้อาจารย์ได้คำแนะนำสำหรับวิธีการสอนในหน่วยต่างๆ พร้อมทั้งอธิบายวิจัยว่าทำไมเราจึงต้องอ่านวิจัยเยอะ เพราะวิจัยนั้นมีวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ สำหรับเด็กปฐมวัย และสอนวิธีการทำทาโกยากิ


บันทึกอนุทินครั้งที่13

บันทึกอนุทินครั้งที่13

                     SCIENCE EXPERIENCES MANAGEMENT FOR EARLY CHILDHOOD
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ
                                                          11 NOVEMBER 2014

                    วันนี้นำเสนอแผนการสอนของแต่ละกลุ่ม

กลุ่มที่ 1  หน่วยผลไม้ (ใช้แผนวันจันทร์)


กลุ่มที่ 2 หน่วย นกหงส์หยก (ใช้แผนวันอังคาร)
         **ยังไม่พร้อมนำเสนออาทิตย์นี้)**

กลุ่มที่ 3 หน่วย ข้าวโพด (ใช้แผนวันพุธ)



กลุ่มที่ 4 หน่วย แตงโม (ใช้แผนวันพฤหัสบดี)




กลุ่มที่ 5 หน่วย กล้วย (ใช้แผนวันศุกร์)



กลุ่มที่ 6 หน่วย ช้าง (ใช้แผนวันจันทร์)



กลุ่มที่ 7 หน่วย ผีเสื้อ (ใช้แผนวันอังคาร)



กลุ่มที่ 8 หน่วย สับปะรด (ใช้แผนวันพุธ)
        **ยังไม่พร้อมนำเสนออาทิตย์นี้**

กลุ่มที่ 9 หน่วย ส้ม (ใช้แผนวันพฤหัสบดี)
        **ยังไม่พร้อมนำเสนออาทิตย์นี้**


การนำไปประยุกต์ใช้
                   
                                 1.วิธีการสอน และเทคนิคการสอน สามารถนำไปใช้ได้จริง
                                 2.หลักการเขียนแผนในแต่ละวันว่าต้องสอนอะไรบ้าง
                                 3.สามารถนำไปจัดกิจกรรมให้กับเด็กได้
                             
ประเมิน
             ตนเอง      - เข้าเรียนตรงเวลา  แต่งกายเรียบร้อย ร่วมทำกิจกรรมในห้องเรียนดี ตั้งใจฟังเพื่อนๆ แต่ละกลุ่มรายงานแผนการจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย เราสามารถนำความรู่้ที่ได้ในวันนี้ ไปใช้เขียนแผนของเราเอง รู้หลักและวิธีการสอนของเพื่อนแต่ละกลุ่ม
             เพื่อน        - เข้าเรียนตรงเวลา มีคุยเสียงดังเป็นบ้างครั้ง  เตรียมงานมาพร้อมนำเสนอ เพื่อนๆตั้งใจนำเสนอแผนของกลุ่มตัวเอง และตั้งใจฟังเพื่อนๆรายงาน
             อาจารย์    - วันนี้อาจารย์ได้คำแนะนำสำหรับการสอน เทคนิคการสอนต่างๆ ว่าเราต้องสอนอย่างไร การใช้คำถามปลายเปิดกับเด็ก ไม่ใช่เราเฉลยให้เด็กฟัง พร้อมทั้งอาจารย์พุดสรุปแผนการสอนและวิธีการสอนของแต่ละกลุ่ม ว่าควรจะเพิ่มอันไหนควรปรับปรุง สามารถนำไปใช้ได้จริงในอนาคต


วันจันทร์ที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่12

                               วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

                                                         วันที่ 4 พฤศจิกายน 2557

การเขียนแผน หน่วย ผีเสื้อ


การนำไปประยุกต์ใช้
                     
                                 สามารถนำความรู้ที่ได้จากการเขียนแผนการสอน นำไปจัดกิจกรรมให้เด็กได้ถูกต้อง ในการเขียนแผนในแต่ละวันนั้นจะเขียนไม่เหมือนกัน แต่จะต้องสอดคล้องกัน เป็นการฝึกการเขียนแผน เพราะในอนาคตเราต้องเขียนอีกเยอะ เราจะได้รู้หลักและวิธีการเขียนแผนที่ถูกต้อง
             ตนเอง      - เข้าเรียนตรงเวลา  แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังอาจารย์สอนหลักการเขียนแผนในแต่ละวันว่าเราต้องเขียนอะไรบ้าง การทำงานกลุ่มก็จะแบ่งหน้าที่กันทำ ช่วยกันคิด ช่วยกันทำ
             เพื่อน        - เข้าเรียนตรงเวลา มีคุยเสียงดังเป็นบ้างครั้ง  เพื่อนๆ ตั้งใจฟังอาจารย์อธิบายวิธีการเขียนแผน และโต้ตอบ ถามคำถามที่สงสัย เพื่อนในละกลุ่่มก็จะแบ่งหน้าที่การทำงานเหมือนกัน
             อาจารย์    - วันนี้อาจารย์ได้คำแนะนำสำหรับการเขียนแผนการจัดประสบการณ์ พร้อมทั้งให้คำแนะนำในแต่ละหน่วยว่าต้องเขียนอะไรบ้าง ในเพราะใน พืช และ สัตว์ จะเขียนไม่กันหมด จะมีความคล้ายและต่างกันไปในหน่วยนั้น ๆ


บันทึกอนุทินครั้งที่11

                               วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

                                                         วันที่ 28 ตุลาคม 2557

กิจกรรม



คลิป ดอกไม้บาน

การนำไปประยุกต์ใช้
                           
                                 สามารถนำสิ่งประดิษฐ์นี้ไปใช้ในการเรียนการสอนได้ ครูต้องรู้จักคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ โดยใช้วัสดุที่มีอยู่รอบตัวหรือวัสดุเหลือใช้ นำมาประดิษฐ์ อาจจะดูเล็กน้อยแต่ก็เกิดการเรียนรู้สำหรับเด็ก จะทำให้เด็กเกิดการสังเกต การเปลี่ยนแปลง ฝึกการคิด


ประเมิน
             ตนเอง      - เข้าเรียนตรงเวลา  แต่งกายเรียบร้อย
             เพื่อน        - เข้าเรียนตรงเวลา มีคุยเสียงดังเป็นบ้างครั้ง
             อาจารย์    - วันนี้อาจารย์ได้ทำการทดลองสิ่งต่างๆให้ดู โดยให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการทดลอง ทุกการทดลองอาจารย์และนักศึกษาได้ร่วมกันอธิบายทุกกิจกรรม ว่าเกิดจากอะไร อาจารย์พูดสรุปทำให้เข้าใจมากขึ้น


บันทึกอนุทินครั้งที่10

                               วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

                                                         วันที่ 21 ตุลาคม 2557


                   วันนี้อาจารย์ให้แต่ลละคนออกมานำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์ที่แต่ล่ะคนประดิษฐ์มาคนละ 1 ชิ้น โดยดิฉันได้ประดิษฐ์ แตร่ช้าง ซึ่งเด็กจะได้เรียนรู้ในเรืองของการเกิดเสียง



การนำไปประยุกต์ใช้
                         
                                 สามารถนำสิ่งประดิษฐ์นี้ไปใช้ในการเรียนการสอนได้ เราต้องรู้จักคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ โดยใช้วัสดุที่มีอยู่รอบตัวหรือวัสดุเหลือใช้ เป็นของเล่นที่เหมาะกับเด็กกับเด็ก สามารถใช้เป็นสื่อการสอนในการบูรณาการ วิชา วิทยาศาสตร์ เรื่อง เสียง จะทำให้เด็กเห็นภาพมากขึ้น ดีกว่าให้เด็กนึกภาพเอาเอง และเป็นการดึงดูดความสนใจได้อีกด้วย


ประเมิน
             ตนเอง      - วันนี้เข้าเรียนตรงเวลา  แต่งกายเรียบร้อย มีคุยกับเพื่อนบาง เตรียมสื่อและข้อมูลมาพร้อมนำเสนอ
             เพื่อน        - เข้าเรียนตรงเวลา มีคุยเสียงดังเป็นบ้างครั้ง เพื่อนทุกคนเตรียมสื่อและข้อมูลมาพร้อมนำเสนอทุกคน อาจจะมีบ้างคนที่ต้องแก้ไขบ้าง
             อาจารย์    - อาจารย์ได้ให้คำแนะนำกับสื่อที่ประดิษฐ์มาทุกคน บ้างสื่ออาจจะต้องปรับปรุง และอาจารย์ได้สอนทุกคนประดิษฐ์ของเล่นที่เหมาะกับเด็กปฐมวัยโดยใช้วัสดุเหลือใช้
บันทึกอนุทินครั้งที่9

                               วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

                                                         วันที่ 14 ตุลาคม 2557

                       วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาที่พร้อมออกมานำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์ โดยห้ามซ้ำกัน คนที่ออกมาก่อนจะได้สิทธิก่อน โดยให้บอกชื่อของสิ่งประดิษฐ์ วิธีการเล่น วัสดุที่ใช้ประดิษฐ์ นำไปใช้กับเด็กแล้วได้อะไร และเด็กได้อะไรจากของเล่นวิทยาศาสตร์ชิ้นนี้
                      พร้อมนำเสนออาทิตย์หน้าพร้อมของเล่นที่ประดิษฐ์


การนำไปประยุกต์ใช้
                             
                                 สามารถนำสิ่งประดิษฐ์นี้ไปใช้ในการเรียนการสอนได้ ใช้เป็นสื่อในการสอนสำหรับเด็ก ของเล่นบ้างชนิดสามารถนำมาจัดในมุมจัดประสบการณ์ได้


ประเมิน
             ตนเอง      - เข้าเรียนตรงเวลา  แต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจฟังเพื่อนๆ ที่นำเสนอสิ่งประดิษฐ์ ถึงแม้จะยังไม่มีีของจริง ได้รู้ว่าทำไมเพื่อนๆถึงประดิษฐ์สิ่งนี้ ของเล่นบ้างอย่างอาจจะยังไม่เหมาะสม
             เพื่อน        - เข้าเรียนตรงเวลา มีคุยเสียงดังเป็นบ้างครั้ง
             อาจารย์    - อาจารย์ได้เสนอแนวคิดในการประดิษฐ์ ว่าอันไหนเหมาะ อันไหนไม่เหมาะสำหรับเด็ก 
บันทึกอนุทินครั้งที่8

                               วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

                                                         วันที่ 7 ตุลาคม 2557

                           
           
           ** วันนี้ไม่มีการเรียนการสอนค่ะ เนื่องจากวันนี้เป็นวันสอบกลางภาคมหาวิทยาลัย **



บันทึกอนุทินครั้งที่7

                               วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

                                                         วันที่ 30 กันยายน 2557


                          วันนี้มีอาจารย์ติดสัมนา เรื่อง จิตอาสาตามรอยแนวเศรษฐกิจพอเพียง
                                                         โดย ปอ ทฤษฎี  สหวงษ์


วันจันทร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557


บันทึกอนุทินครั้งที่6

                               วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

                                                         วันที่ 23 กันยายน 2557


บันทึกอนุทินครั้งที่5

                               วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
                                                   อาจารย์ จินตนา สุขสำราญ

                                                         วันที่ 16 กันยายน 2557

        อาจารย์เปิดเพลงวิทยาศาสตร์ให้ฟัง แล้วให้วิเคระาห์เนื้อหาของเพลงที่ได้ฟัง จากนั้นอาจารย์ให้คิดเพลงที่เกี่ยวกับเด็กปฐมวัยมาคนะ 1 เพลง โดยห้ามซำ้กัน




การนำไปประยุกต์ใช้
                               
                                 สามารถนำเนื้อหาที่เรียน เกี่ยวกับรูปแบบการเรียนรู้เด็กปฐมวัย ไปปรับใช้ในการทำกิจกรรมให้เหมาะกับความต้องการของเด็กปฐมวัย


ประเมิน
             ตนเอง      - เข้าเรียนตรงเวลา วันนี้รู้สึกสับสนในเนื้อหาแต่งกายเรียบร้อย  มีแอบคุยกับเพื่อน                                            บ้าง
             เพื่อน        - เข้าเรียนตรงเวลา ใจตั้งใจเรียน มีส่วนร่วมในการตอบคำถาม
             อาจารย์    - อาจารย์ใช้คำถามปรายเปิด เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการตอบคำถาม



ความลับของแสง





สรุปบทความ

                          วิทยาศาสตร์กับการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

                   เด็กเป็นนักค้นคว้าเพื่อการเรียนรู้โดยธรรมชาติ การหยิบจับ สัมผัส และการสังเกต  การเรียนวิทยาศาสตร์จะเน้นการเรียนทักษะวิทยาศาสตร์และธรรมชาติรอบตัว ได้แก่ เรื่องพืช สัตว์ เวลา ฤดูกาล น้ำ และอากาศร่วมด้วย   วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการสังเกตโลกรอบตัวและการสร้างทฤษฎีเกี่ยวกับสิ่งที่เห็น ศึกษาตั้งแต่สิ่งเล็ก ๆ อย่างเช่นแมลงในสนามหญ้า ไปจนถึงสิ่งใหญ่ ๆ อย่างดวงดาว ในขณะที่เด็ก ๆ กำลังมองผ่านกล้องจุลทรรศน์หรือกล้องส่องทางไกล นั่นเท่ากับว่าเด็ก ๆ กำลังเก็บรายละเอียดหรือเก็บข้อมูล ยิ่งดูมาก สังเกตมาก ก็ยิ่งได้ข้อมูลมาก เคยได้ยินเด็ก ๆ ตั้งคำถามแบบนี้กันบ้างไหม... ”ทำไมปลาไม่นอน” “ทำไมต้นหญ้าหน้าตาเหมือนต้นข้าว” “ภาพในโทรทัศน์เกิดขึ้นได้อย่างไร” “ทำไมเรือลำใหญ่ ๆ จึงไม่จมน้ำ” คือจุดเริ่มต้นของทักษะทางวิทยาศาสตร์ที่สำคัญซึ่งพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครู ไม่ควรมองข้าม

วิทยาศาสตร์ให้อะไรกับเด็ก
              1. กระบวนการคิดที่เป็นเหตุเป็นผล เพราะวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของเหตุผล พิสูจน์ได้ ไม่มีอะไรเกิดขึ้นลอย ๆ
              2. พัฒนาการทางความคิดมากกว่าความจำ ไม่มีทฤษฎีใดในโลกที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้ เช่น ครั้งหนึ่งคนเคยเชื่อว่าโลกแบน แต่ กาลิเลโอ ก็พิสูจน์ให้เห็นแล้วว่าโลกกลม
              3. จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
              4. ทัศนคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ เด็ก ๆ อาจคิดอย่างเป็นเหตุผลและเป็นระบบอยู่แล้วในชีวิตประจำวัน ถ้าเด็กได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างถูกวิธี เขาจะมีความสุขและสามารถต่อยอดไปในชั้นสูง ๆ ได้

              การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ระดับปฐมวัย ช่วยให้เด็กได้พัฒนาคุณลักษณะตามวัยที่สำคัญ 4 ด้าน ได้แก่
              1.คุณลักษณะตามวัยด้านร่างกาย เช่น การจัดกิจกรรมให้เด็ก ๆ ได้สำรวจสิ่ง ต่าง ๆ รอบตัวเด็ก
              2.คุณลักษณะตามวัยด้านอารมณ์และจิตใจ เช่น การจัดกิจกรรมให้เด็ก ๆ ได้สำรวจและทดลองสิ่งต่าง ๆ รอบตัว เด็ก ๆ
              3. คุณลักษณะตามวัยด้านสังคม เช่น การจัดกิจกรรมให้เด็ก ๆ ได้สำรวจสิ่งต่างๆ รอบตัว เด็ก ๆ ได้ฝึกการช่วยเหลือตนเองในการทำกิจกรรม รู้จักทำงานร่วมกับเพื่อน
              4.คุณลักษณะตามวัยด้านสติปัญญา เช่น การจัดกิจกรรมให้เด็ก ๆ ได้สำรวจตรวจสอบ ทดลอง หรือสืบค้นสิ่งต่าง ๆ รอบตัว เด็ก ๆ ได้พัฒนาความสามารถในการถามคำถามเชิงวิทยาศาสตร์อย่างง่าย


สรุป
             กิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เป็นการเรียนรู้ที่มีจุดมุ่งหมาย 2 ประการ คือ
1. การฝึกทักษะพื้นฐาน ทางวิทยาศาสตร์
2. การเรียนรู้ข้อความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นธรรมชาติรอบตัวที่เด็กพบในชีวิตประจำวัน โดยเน้น
การใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ
 1) การสังเกต
 2) การจำแนก เปรียบเทียบ 
 ) การวัด
 4) การสื่อสาร 
 5) การทดลอง และ
 6) การสรุปและนำไปใช้
          สิ่งที่ได้จากการเรียนวิทยาศาสตร์ คือ การสร้างให้เด็กมีนิสัยค้นคว้า การสืบเสาะ และการทำความเข้าใจธรรมชาติรอบตัว รู้จักวิธีการค้นหาความรู้อย่างนักวิทยาศาสตร์ โดยการพัฒนาทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในขณะเดียวกันเรียนรู้วิทยาศาสตร์รอบตัวไปด้วย



ตัวอย่างการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์
กิจกรรม ขุมทรัพย์บนพื้นหญ้า

ผิวสัมผัส : สิ่งแรกที่เด็กจะได้รับคือการได้สัมผัสกับสิ่งที่เป็นธรรมชาติ อย่างน้อยก็ผืนดินที่ปกคลุมไปด้วยหญ้าซึ่งแซมด้วยวัชพืชต่าง ๆ ให้มือของเด็กได้สัมผัสดิน ใช้เท้าวิ่งไปบนผืนหญ้าอ่อนนุ่ม ให้ความรู้สึกต่างกับพื้นยางหรือลานปูนมากเลยทีเดียว ซึ่งอย่างน้อย ๆ ก็ทำให้เด็กได้คุ้นเคยกับผิวสัมผัสต่าง ๆ แบบกันไป
การสังเกต : หากเปลี่ยนจากจอทีวีมาเป็นสนามหญ้ากว้างสีเขียวได้ก็จะดีมาก เพราะนอกจากจะช่วยฝึกสายตาแล้ว ยังสอนให้เด็กรู้จักหัดสังเกตสิ่งต่าง ๆ รอบตัวอีกด้วย


อ้างอิง : http://kunkruoum.blogspot.com/2011/08/blog-post_28.html


 

Copyright © Science Experiences Management for Early Childhood. Template created by Volverene from Templates Block | Downloaded from Free Templates
lasik surgery new york and cpa website solutions
WP theme by WP Themes Expert